ปริญญาตรี

ปริญญาตรี

เปิดภาคการศึกษา :

16 สิงหาคม

ระยะหลักสูตร:

4 ปี

หน่วยกิต:

145

เปิดภาคการศึกษา:

16 สิงหาคม

ระยะหลักสูตร:

4 ปี

หน่วยกิต:

145

ภาควิชาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม เปิดหลักสูตรในระดับปริญญาตรีในชื่อ หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา (Bachelor of Engineering Program in Civil Engineering) ในชั้นปีที่หนึ่งจะศึกษาพื้นความรู้ในด้านคณิตศาสตร์ ฟิสิกส์ วิทยาศาสตร์ และพื้นฐานทางวิศวกรรมเป็นหลัก   ความรู้เฉพาะด้านวิศวกรรมโยธาจะเริ่มสอนในชั้นปีที่ 2 ถึงชั้นปีที่ 4 นักศึกษาจะเริ่มเรียนวิชาเฉพาะทางในสายงานโยธาที่ลึกยิ่งขึ้น เช่น การออกแบบวิเคราะห์โครงสร้าง  การก่อสร้าง  โดยนำความรู้ที่ได้เรียนมาปฏิบัติจริงกับ งานอาคาร งานถนน งานเขื่อน งานโครงสร้างพื้นฐานต่างๆ  และก่อนจบการศึกษานักศึกษาทุกคนจำเป็นต้องทำโครงงานทางวิศวกรรมที่เป็นลักษณะของงานวิจัยขั้นพื้นฐานที่ต้องใช้พื้นฐานความรู้ทั้งทฤษฎีและปฎิบัติ

หลักสูตรวิศวกรรมโยธาของมหาวิทยาลัยมหิดลได้รับการรับรองจากสภาวิศวกร ซึ่งบัณฑิตที่ศึกษาจนจบหลักสูตรวิศวกรรมโยธาจากมหาวิทยาลัยมหิดลจะสามารถยื่นขอทดสอบความรู้ทางวิศวกรรม เพื่อรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพสาขาวิชาวิศวกรรมโยธาได้

คุณสมบัติผู้สมัคร

  • สำเร็จการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเท่า สายวิทย์-คณิต
  • มีผลการทดสอบความถนัดทั่วไป GAT
  • มีผลการทดสอบความถนัดทางวิชาชีพและวิชาการ : PAT 1 (คณิตศาสตร์), PAT 2 (วิทยาศาสตร์), PAT 3 (วิศวกรรมศาสตร์)
หมายเหตุ
ทั้งนี้คุณสมบัติเฉพาะทางการศึกษาของผู้สมัคร อาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม

กำหนดระยะเวลาเปิดภาคการศึกษา

  • ภาคต้น ระหว่างเดือน สิงหาคม – ธันวาคม
  • ภาคปลาย ระหว่างเดือน มกราคม – พฤษภาคม
  • ภาคฤดูร้อน ระหว่างเดือน มิถุนายน – กรกฎาคม

โครงสร้างหลักสูตร

รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต (ทฤษฎี – ปฏิบัติ – ค้นคว้า)
ภาคการเรียนที่ ๑
มมศท ๑๐๑
MUGE 101
การศึกษาทั่วไปเพื่อการพัฒนามนุษย์**
General Education for Human Development
๒ (๑-๒-๓)
มมศท ๑๐๒
MUGE 102
สังคมศึกษาเพื่อการพัฒนามนุษย์**
Social Studies for Human Development
๓ (๒-๒-๕)
มมศท ๑๐๓
MUGE 103
ศิลปวิทยาการเพื่อการพัฒนามนุษย์**
Arts and Science for Human Development
๒ (๑-๒-๓)
ศศภอ๑๐๓-๑๐๕
LAEN 103-105
ภาษาอังกฤษระดับ ๑-๓*
English Level 1-3
๓ (๒-๒-๕)
ศศภท ๑๐๐
LATH 100
ศิลปะการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร***
Art of Using Thai Language in Communication
๓ (๒-๒-๕)
วทคณ ๑๑๕
SCMA 115
แคลคูลัส
Calculus
๓ (๓-๐-๖)
วทฟส ๑๑๐
SCPY 110
ปฏิบัติการฟิสิกส์ทั่วไป
General Physics Laboratory
๑ (๐-๓-๑)
วทฟส ๑๕๑
SCPY 151
ฟิสิกส์ทั่วไป ๑
General Physics I
๓ (๓-๐-๖)
วศคพ ๑๑๑
EGCO 111
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
Computer Programming
๓ (๒-๒-๕)
วิชาเลือกหมวดศึกษาทั่วไป กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ฯ (กิจกรรมพลศึกษา/ดนตรี)
General Education Electives: Humanities etc. (Physical Education/Musics)
๑ (๐-๒-๑)
รวม ๒๑ (๑๔-๑๕-๓๕)
ภาคการเรียนที่ ๒
มมศท ๑๐๑
MUGE 101
การศึกษาทั่วไปเพื่อการพัฒนามนุษย์**
General Education for Human Development
๒ (๑-๒-๓)
มมศท ๑๐๒
MUGE 102
สังคมศึกษาเพื่อการพัฒนามนุษย์**
Social Studies for Human Development
๓ (๒-๒-๕)
มมศท ๑๐๓
MUGE 103
ศิลปวิทยาการเพื่อการพัฒนามนุษย์**
Arts and Science for Human Development
๒ (๑-๒-๓)
ศศภอ ๑๐๔-๑๐๖
LAEN 104-106
ภาษาอังกฤษระดับ ๒-๔*
English Level 2-4
๓ (๒-๒-๕)
ศศภท ๑๐๐
LATH 100
ศิลปะการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร***
Art of Using Thai Language in Communication
๓ (๒-๒-๕)
วทคม ๑๑๓
SCCH 113
เคมีทั่วไป
General Chemistry
๓ (๓-๐-๖)
วทคม ๑๑๘
SCCH 118
ปฏิบัติการเคมี
Chemistry Laboratory
๑ (๐-๓-๑)
วทคณ ๑๖๕
SCMA 165
สมการอนุพันธ์เชิงสามัญ
Ordinary Differential Equations
๓ (๓-๐-๖)
วทฟส ๑๕๒
SCPY 152
ฟิสิกส์ทั่วไป ๒
General Physics II
๓ (๓-๐-๖)
วศคก ๑๐๒
EGME 102
เขียนแบบวิศวกรรม
Engineering Drawing
๓ (๒-๓-๕)
วศอก ๑๐๑
EGIE 101
ปฏิบัติการวิศวกรรมพื้นฐาน
Basic Engineering Practice
๒ (๑-๓-๓)
รวม ๒๑ (๑๖-๑๓-๓๗)
หมายเหตุ *รายวิชาภาษาอังกฤษระดับ ๑-๔ (ศศภอ ๑๐๓-๑๐๖) ลงทะเบียนเรียนตามระดับความสามารถของนักศึกษา
** เป็นรายวิชาต่อเนื่องที่เรียนทั้ง ๒ ภาคการศึกษา แต่นับหน่วยกิตเฉพาะในภาคการศึกษาที่ ๑ เท่านั้น
***เป็นรายวิชาต่อเนื่องที่เรียนทั้ง ๒ ภาคการศึกษา แต่นับหน่วยกิตเฉพาะในภาคการศึกษาที่ ๒เท่านั้น
รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต (ทฤษฎี – ปฏิบัติ – ค้นคว้า)
ภาคการเรียนที่ ๑
วศคก ๒๒๐
EGME 220
กลศาสตร์วิศวกรรม
Engineering Mechanics
๓ (๓-๐-๖)
วศคร ๒๐๐
EGID 200
คณิตศาสตร์วิศวกรรม
Engineering Mathematics
๓ (๓-๐-๖)
วศอก ๑๐๓
EGIE 103
วัสดุวิศวกรรม
Engineering Materials
๓ (๓-๐-๖)
วศยธ ๒๑๑
EGCE 211
วัสดุด้านวิศวกรรมโยธา
Civil Engineering Materials
๓ (๓-๐-๖)
วศยธ ๒๑๒
EGCE 212
ปฏิบัติการทดสอบวัสดุด้านวิศวกรรมโยธา
Civil Engineering Materials Testing Laboratory
๑ (๐-๓-๑)
วทฟส ๑๒๐
SCPY 120
ปฏิบัติการฟิสิกส์ ๒
Physics Laboratory II
๑ (๐-๓-๑)
วิชาเลือกหมวดศึกษาทั่วไป กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ฯ (กิจกรรมพลศึกษา/ดนตรี)
General Education Electives : Humanities , etc. (Physical Education/ Music)
๑ (๐-๒-๑)
รวม ๑๕ (๑๒-๘-๒๗)
ภาคการเรียนที่ ๒
วศยธ ๒๐๓
EGCE 203
กำลังวัสดุ
Strength of Materials
๓ (๓-๐-๖)
วศยธ ๒๑๓
EGCE 213
เทคโนโลยีคอนกรีต
Concrete Technology
๓ (๓-๐-๖)
วศยธ ๒๔๐
EGCE 240
การสำรวจ
Surveying
๓ (๒-๓-๕)
วศยธ ๒๒๑
EGCE 221
กลศาสตร์ของไหลสำหรับวิศวกรรมโยธา
Fluid Mechanics for Civil Engineering
๓ (๓-๐-๖)
วศยธ ๒๘๒
EGCE 282
คณิตศาสตร์ประยุกต์สำหรับงานวิศวกรรมโยธา
Applied Mathematics for Civil Engineering
๓ (๓-๐-๖)
วศยธ xxxM/br>EGCE xxx วิชาเฉพาะเลือกทางวิศวกรรมโยธา
Civil Engineering Elective Course
๓ (๓-๐-๖)
วิชาเลือกหมวดศึกษาทั่วไป กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ฯ
General Education Electives : Humanities , etc.
๒ (๒-๐-๔)
รวม ๒๐ (๑๙-๓-๓๙)
ภาคการศึกษาฤดูร้อน
วศยธ ๒๔๓
EGCE 243
การฝึกงานสำรวจ (ออกฝึกภาคสนามไม่ต่ำกว่า ๘๐ ชม.)
SurveyCamp
๑ (๐-๘๐-๐)
รวม ๑ (๐-๘๐-๐)
รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต (ทฤษฎี – ปฏิบัติ – ค้นคว้า)
ภาคการเรียนที่ ๑
วศคร ๓๐๐
EGID 300
ปรัชญา จรรยาบรรณ และกฎหมายทางวิศวกรรม
Philosophy Ehtics and Laws of Engineering
๑ (๑-๐-๒)
วศยธ ๓๑๑
EGCE 311
การวิเคราะห์โครงสร้าง ๑
Structural Analysis I
๓ (๓-๐-๖)
วศยธ ๓๑๓
EGCE 313
การออกแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก
Reinforced Concrete Design
๓ (๓-๐-๖)
วศยธ ๓๑๔
EGCE 314
ปฏิบัติการออกแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก
Practice in Reinforced Concrete Design
๑ (๐-๓-๑)
วศยธ ๓๒๓
EGCE 323
อุทกวิทยา
Hydrology
๓ (๓-๐-๖)
วศยธ ๓๓๑
EGCE 331
ปฐพีกลศาสตร์
Soil Mechanics
๓ (๓-๐-๖)
วศยธ ๓๓๒
EGCE 332
ปฏิบัติการปฐพีกลศาสตร์
Soil Mechanics Laboratory
๑ (๐-๓-๑)
วศยธ xxx
EGCE xxx
วิชาเฉพาะเลือกทางวิศวกรรมโยธา
Civil Engineering Elective Course
๑ (๐-๓-๑) หรือ ๑ (๐-๔๐-๑๒)
วิชาเลือกหมวดศึกษาทั่วไป กลุ่มภาษา
General Education Electives : Languages
๓ (๓-๐-๖) หรือ ๓ (๒-๒-๕)
รวม ๑๙ (๑๖-๙-๓๕) หรือ ๑๙ (๑๕-๔๘-๔๕)
ภาคการเรียนที่ ๒
วศยธ ๓๑๒
EGCE 312
การวิเคราะห์โครงสร้าง ๒
Structural Analysis II
๓ (๓-๐-๖)
วศยธ ๓๑๕
EGCE 315
การออกแบบโครงสร้างไม้และเหล็ก
Timber and Steel Design
๓ (๓-๐-๖)
วศยธ ๓๑๖
EGCE 316
ปฏิบัติการออกแบบโครงสร้างไม้และเหล็ก
Practice in Timber and Steel Design
๑ (๐-๓-๑)
วศยธ ๓๒๑
EGCE 321
วิศวกรรมชลศาสตร์
Hydraulic Engineering
๓ (๓-๐-๖)
วศยธ ๓๒๔
EGCE 324
ปฏิบัติการกลศาสตร์ของไหล
Fluid Mechanics Laboratory
๑ (๐-๓-๑)
วศยธ ๓๕๒
EGCE 352
วิศวกรรมการทาง
Highway Engineering
๓ (๓-๐-๖)
วศยธ ๓๕๓
EGCE 353
ปฏิบัติการวัสดุการทาง
Highway Materials Laboratory
๑ (๐-๓-๑)
วศยธ ๓๗๑
EGCE 371
สัญญา ข้อกำหนดและการประมาณราคางานก่อสร้าง
Contract, Specifications and Cost Estimation
๒ (๒-๐-๔)
วศยธ ๓๘๑
EGCE 381
สถิติประยุกต์และความน่าจะเป็น
Applied Probability and Statistics
๓ (๓-๐-๖)
รวม ๒๐ (๑๗-๙-๓๗)
ภาคการศึกษาฤดูร้อน
วศยธ ๓๙๙
EGCE 399
การฝึกงาน (ฝึกงานไม่ต่ำกว่า ๒๔๐ ชั่วโมง)
Engineering Training
๑ (๐-๓๕-๑๐)
รวม ๑ (๐-๓๕-๑๐)
รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต (ทฤษฎี – ปฏิบัติ)
ภาคการเรียนที่ ๑
วศยธ ๓๖๑
EGCE 361
วิศวกรรมการประปา
Water Supply Engineering
๓ (๓-๐-๖)
วศยธ ๔๐๔
EGCE 404
การวิเคราะห์โครงสร้างด้วยวิธีแมตตริกส์
Matrix Methods in Structural Analysis
๓ (๓-๐-๖)
วศยธ ๔๓๓
EGCE 433
วิศวกรรมฐานราก
Foundation Engineering
๓ (๓-๐-๖)
วศยธ ๔๓๔
EGCE 434
ปฏิบัติการออกแบบวิศวกรรมฐานราก
Practice in Foundation Engineering Design
๑ (๐-๓-๑)
วศยธ ๔๕๒
EGCE 452
วิศวกรรมขนส่ง
Transportation Engineering
๓ (๓-๐-๖)
วศยธ ๔๗๑
EGCE 471
วิศวกรรมและการบริหารงานก่อสร้าง
Construction Engineering and Management
๓ (๓-๐-๖)
วศยธ ๔๙๕
EGCE 495
สัมมนาโครงงาน
Project Seminar
๑ (๐-๓-๑)
วิชาเลือกเสรี
Free Elective
๓(๓-o-๖)
รวม ๒๐ (๑๘-๖-๓๘)
ภาคการเรียนที่ ๒
วศยธ ๔๐๖
EGCE 406
การออกแบบสะพาน
Bridge Design
๓ (๓-๐-๖)
3 (3-0-6)
วศยธ ๔๖๒
EGCE 462
ระบบและการจัดการสิ่งแวดล้อม
Environmental Systems and Management
๓ (๓-๐-๖)
วศยธ ๔๙๖
EGCE 496
โครงงานวิศวกรรมโยธา
Civil Engineering Project
๓ (๐-๙-๓)
วศยธ xxx
EGCE xxx
วิชาเฉพาะเลือกทางวิศวกรรมโยธา
Civil Engineering Elective Course
๓ (๓-๐-๖)
วิชาเลือกเสรี>
Free Elective
๓(๓-o-๖)
รวม ๑๕ (๑๒-๙-๒๗)

ข้อมูลนักศึกษา

ปีการศึกษา จำนวนรับเข้า จำนวนจบการศึกษา
2012 52 32
2013 53 38
2014 75 63
2015 80 65
2016 84 74
2017 62
2018 57
2019 54
2020 60

ทุนการศึกษา

ในแต่ละปีการศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้จัดสรรทุนการศึกษาให้แก่นิสิตคณะวิศวกรรมศาสตร์เพื่อ สนับสนุนและช่วยเหลือนิสิตที่ขาดแคลนทุนทรัพย์เป็นประจำ ทุกปี เพื่อให้นิสิตทุกคนมีโอกาสศึกษาเล่าเรียนโดยทัดเทียมกัน

นอกจากนี้ยังมีทุนที่คณะฯ ได้รับจัดสรรหรือสนับสนุนจากองค์กรหรือบริษัทต่างๆ ซึ่งแต่ละแหล่งทุนจะมีเงื่อนไขการรับทุนการศึกษาแตกต่างกัน

สมัครเรียน

สมัครเรียนผ่านระบบออนไลน์ได้ที่นี่